วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2552

การตรวจหามะเร็งในระยะเริ่มแรก

วิธีการตรวจ
ผู้ที่ควรได้รับการตรวจ
เพศ
อาย
ช่วงเวลาการตรวจ



การส่องกล้อง เพื่อตรวจหา มะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนล่าง
ชาย-หญิง
50 ปีขึ้นไป
ทุกปี หากผลการตรวจเป็นปกติ 2 ครั้ง ติดต่อกัน ควรตรวจทุก 3-5 ปี



การตรวจหาเลือดในอุจจาระ
ชาย-หญิง
50 ปีขึ้นไป
ทุกปี



การตรวจทวารหนัก

ชาย-หญิง
50 ปีขึ้นไป
ทุกปี



การตรวจอัลตราซาวนด์ตับและตรวจเลือด
(หาค่า AFP)
ชาย-หญิง
ผู้ที่เป็นพาหะ ไวรัสตับ อักเสบบีและะ ไวรัสตับ อักเสบซี
ทุก 6 เดือน หรือ ทุก 1 ปี



การกลืนแป้งเพื่อตรวจกระเพาะอาหาร

ชาย-หญิง
50 ปีขึ้นไป
ทุกป



การเอกซเรย์ปอด
ชาย-หญิง
50 ปีขึ้นไป
ทุกปี



การตรวจภายใน และตรวจหาเซลล์มะเร็งของปากมดลูก
หญิง
30-65 ปี หรือ น้อยกว่า 30 ปี ในกรณีที่มีเพศ สัมพันธ์แล้ว
ทุกปี หากผลการตรวจเป็นปกติ 3 ครั้ง ติดต่อกัน ครั้งต่อไป ควรตรวจอย่างน้อยทุกๆ 2 ปี



การตรวจเยื่อบุโพรงมดลูก
หญิง
เมื่อหมด ประจำเดือน แล้ว
เมื่อหมดประจำเดือนแล้ว



การตรวจเต้านมโดยแพทย์
หญิง
20-40 ปี หรือ 40 ปีขึ้นไป
ทุก 1-2 ปี
ทุกปี



การตรวจเต้านมโดยเอกซเรย์พิเศษ
(Mammography)
หญิง
35-40 ปีขึ้นไป 41-49 ปี
50 ปีขั้นไป
ควรจดบันทึกเพื่อติดตามผล
ทุก 1-2 ปี
ทุกปี



การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
หญิง
20 ปีขึ้นไป
ทุกเดือน (7-10 วัน หลังหมดประจำเดือน)



การ ตรวจสุขภาพทั่วไป และการค้นหามะเร็งระยะเริ่มแรก รวมไปถึงการตรวจมะเร็งต่อมไทรอยด์ มะเร็งลูกอัณฑะ มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งรังไข่ มะเร็งต่อมน้ำเหลือง มะเร็งช่องปาก และมะเร็งผิวหนัง
ชาย-หญิง
20-39 ปี
40 ปีขึ้นไป
ทุก 3 ปี
ทุกปี
แหล่งข้อมูล : นิตยสาร - Alternative Medicine

ไม่มีความคิดเห็น: